Loading...

Read More...

National Tuberculosis Information Program

ระบบโปรแกรมรายงาน ข้อมูลวัณโรคของประเทศไทย

NTIP THAILAND

ระบบโปรแกรมรายงาน ข้อมูลวัณโรคของประเทศไทย โปรแกรมรายงานข้้อมููลวััณโรคของประเทศไทย(NationalTuberculosis InformationProgram: NTIP) คืือ โปรแกรมรููปแบบ online ในการลงข้้อมููล Electronic based ใช้้ในการจััดเก็็บข้้อมููลการคััด กรอง การตรวจวิินิิจฉััย การขึ้้นทะเบีียนรัักษาวััณโรค/วััณโรคดื้้อยา และยัังสามารถส่่งต่่อการรัักษาไปยััง โรงพยาบาลอื่่น ๆ ได้

ความเป็นมาของโปรแกรมฐานข้อมูลวัณโรคของประเทศไทย การเก็บรวบรวมและข้อมูลเกี่ยวกับวัณโรค เดิมมีการเก็บเป็นลายลักษณ์อักษรโดยใช้แบบฟอร์ม TB01 TB03 และแบบฟอร์มรายงาน TB07 TB08 และ TBHIV ส่งรายงานเป็น paper-based จากโรงพยาบาลที่เป็น หน่วยงานให้บริการตรวจวินิจฉัยและรักษาวัณโรค และส่งมายังสำนักงานสาธารณสุข รวบรวมเป็นข้อมูลรวม ของจังหวัด แล้วส่งต่อมายังสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต และระดับเขตรวบรวมเป็นข้อมูลรวมของแต่ละ เขต ส่งมายังส่วนกลางที่กองวัณโรค เพื่อสรุปรวมเป็นข้อมูลประเทศ

จนกระทั่งพัฒนาเป็นรูปแบบลงข้อมูลแบบ Electronic based เพื่อการจัดเก็บข้อมูลที่สะดวก ง่าย ไม่ สูญหาย และสืบค้นได้ ซึ ่งประเทศไทยได้มีรูปแบบการพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลวัณโรคแบบ electronic อย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ปี พ.ศ. 2548 เริ ่มมีการพัฒนาฐานข้อมูลเพื ่อใช้ในโรงพยาบาลชุมชน ของจังหวัดเชียงใหม่ ใช้ชื ่อว่า TBCM 2010 เป็นฐานข้อมูล electronic แบบ offline ขยายงานใช้ในโรงพยาบาลทุกแห่งของจังหวัดเชียงใหม่
ปี พ.ศ. 2549 เริ ่มมีการใช้ TBCM 2010 ขยายงานใช้ในหน่วยบริการในเขตบริการสุขภาพที ่ 1 แล้ว ขยายการใช้งานในเขตบริการสุขภาพอื่น ๆ โดยออกรายงานและส่งส่วนกลางด้วยเอกสาร
ปี พ.ศ. 2550 เริ่มขยายการใช้งานไปเขตบริการสุขภาพอื่น ๆ จนครบทุกเขตในปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2555 มีการใช้ TB Thailand เป็นการกรอกข้อมูล web-based บนเว็บไซต์ของกองวัณโรค เป็นช่องทางการส่งรายงานวัณโรค และกรอกข้อมูลลง Smart TB พัฒนาเป็น TB data hub (ของ สปสช.) สำหรับการชดเชยสิทธิประโยชน์ด้านวัณโรค
ปี พ.ศ. 2560 เริ ่มมีการใช้ TBCM online โดย Implement ที ่จังหวัดสุพรรณบุรีแห่งแรกในปี